ชิ้นงานแตกเป็นครีบ | |
สาเหตุ | วิธีการแก้ไข |
อัตราส่วนระหว่าง ปูน / น้ำ ไม่ถูกต้อง (อัตราส่วน น้ำใช้มากเกินไป) | ใช้อัตราส่วนน้ำให้ถูกต้องในการผสม (โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในเครื่องผสมปูนแบบสุญญากาศ ควรใช้ อัตราส่วนน้ำที่ 38 %) |
ช่วงเวลาในการผสมปูน ,เทปูน และดูด อากาศนานเกินไป ซึ่งหมายถึงเบ้าปูนยังมี การขยับเขยื่อนอยู่ในขณะที่ปูนกำลังจะเริ่ม เซตตัวแห้ง | ช่วงเวลาในการผสมปูน ,เทปูน และดูดอากาศ ไม่ควรเกิน 8 นาที(หลังจากนั้นให้รีบยกเบ้าวาง ไว้ในพื้นที่ปลอดภัยอย่างน้อย 1 ชั่วโมง) |
ใช้แรงดันหรือรอบเหวี่ยงในขณะหล่องาน มากเกินไป. | สำหรับเครื่องหล่อเหวี่ยง ให้ลดความเร็วของ รอบเหวี่ยงลง ,สำหรับเครื่องหล่อสุญญากาศ ให้ลดแรงดันขณะหล่องานลง. |
ทำการขยับเขยื่อนเบ้าเร็วเกินไปปูนยัง ไม่แข็งตัวสมบูรณ์ | วางเบ้าปูนทิ้งไว้อย่างน้อย 1 ชั่วโมง. |
วางเบ้าทิ้งไว้จนแห้งนานเกินไป. | ถ้าหากไม่ได้นำเบ้าเข้าเตาอบในวันเดียวกันกับ ที่ผสมปูน แนะนำให้นำผ้าเปียกคลุมเบ้าไว้เพื่อ ป้องกันไม่ให้เบ้าปูนแห้งสนิทจนเกินไป. |
เบ้าถูกอบที่อุณหภูมิสูงเกินไป. | อุณหภูมิที่อบเบ้าปูนไม่ควรเกิน 750 องศา°C |
ผิวงานงานติดเม็ดอากาศ | |
สาเหตุ | วิธีการแก้ไข |
ใช้อัตราส่วนน้ำในการผสมปูนน้อยเกิน ไปทำให้น้ำปูนมีความหนืด. | ใช้อัตราส่วนน้ำให้ถูกต้องในการผสม (ควรใช้อัตราส่วนน้ำที่ 38 %) |
ปั้มสุญญากาศเกิดข้อบกพร่องบางประการ | ตรวจเช็คซ่อมบำรุงปั้มสุญญากาศให้มีความ สมบูรณ์พร้อมใช้งาน และเปลี่ยนถ่ายน้ำมันปั้ม สุญญากาศอย่างสม่ำเสมอ. |
ช่วงเวลาในการผสมปูน ,เทปูน และดูด อากาศนานเกินไป ปูนกำลังเซตตัวแห้งขณะ ที่ยังดูดอากาศอยู่ | ช่วงเวลาในการผสมปูน ,เทปูน และดูดอากาศไม่ ควรเกิน 8 นาที |
ผิวงานเป็นคราบน้ำ | |
สาเหตุ | วิธีการแก้ไข |
Iอัตราส่วนระหว่าง ปูน / น้ำ ไม่ถูกต้อง (อัตราส่วนน้ำใช้มากเกินไป) | ใช้อัตราส่วนน้ำให้ถูกต้องในการผสม(โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในเครื่องผสมปูนแบบสุญญากาศควรใช้ อัตราส่วนน้ำที่ 38 %) |
ช่วงเวลาในการผสมปูน ,และอุณหภูมิ ของน้ำปูนไม่ถูกต้อง | ช่วงเวลาในการผสมปูน ,เทปูน และดูดอากาศไม่ ควรเกิน 8 นาที และควบคุมอุณหภูมิน้ำปูนให้อยู่ ระหว่าง 20 - 30 °C |
ปูนเก่าเก็บ(ปูนหมดอายุ) | พยายามใช้ปูนที่ใหม่อยู่เสมอ หรือสั่งปูนให้เหมาะ สมกับการใช้งาน(ไม่ควรเก็บปูนนานเกิน 6 เดือน) |
ผิวงานปูนกระเทาะ | |
สาเหตุ | วิธีการแก้ไข |
ช่วงเวลาอบไล่เทียนสั้นเกินไป | ช่วงเวลาอบไล่เทียนไม่ควรน้อยกว่า 3 ชั่วโมง (อุณหภูมิอบเทียนอยู่ระหว่าง 150 - 250°C) |
ใช้อุณหภูมิในการอบเทียนสูงเกินไป | ไม่ใช้อุณหภูมิในการอบเทียนสูงเกิน 250°C เนื่อง จากจะทำให้เทียนเดือด ส่งผลทำให้ปูนโดนกัดเซาะ |
เบ้าปูนนำเข้าเตาอบเร็วเกินไป หลังจาก ผสมปูนเสร็จ. |
วางเบ้าปูนทิ้งไว้อย่างน้อย 1 ชั่วโมง.ก่อนนำเข้า เตาอบ |
ผิวงานขรุขระ ไม่เรียบ | |
สาเหตุ | วิธีการแก้ไข |
ผิวของชิ้นงานเทียนไม่เรียบ | ใช้แป้งใส่ในแม่พิมพ์ยาง ,ซิลิโคนมากเกินไป |
ใช้อุณหภูมิในการอบเทียนสูงเกินไป | ไม่ใช้อุณหภูมิในการอบเทียนสูงเกิน 250°C เนื่อง จากจะทำให้เทียนเดือด ส่งผลทำให้ปูนโดนกัดเซาะ |
อบนึ่งเบ้าเพื่อไล่เทียนใช้เวลานานเกินไป | อบนึ่งเบ้าเพื่อไล่เทียนใช้เวลา ไม่เกิน 1 ชั่วโมงการนึ่ง ที่นานเกินไปจะเป็นการทำลายพื้นผิว ของชิ้นงานหล่อ |
เบ้าถูกอบที่อุณหภูมิสูงเกินไป. | อุณหภูมิที่อบเบ้าปูนไม่ควรเกิน 750 องศา (C °) |
อุณหภูมิของน้ำโลหะ ขณะที่หล่องานสูงเกินไป | ลดอุณหภูมิของน้ำโลหะลง ให้เหมาะสมกับขนาด ของชิ้นงาน |
ปัญหาตามดแบบฟองอากาศ | |
สาเหตุ | วิธีการแก้ไข |
โลหะที่ใช้หล่องานมีคุณภาพต่ำ | โลหะเก่าที่นำกลับมาใช้ต้องไม่ใช้เกิน 50% และต้อง มั่นใจว่าโลหะมีความสะอาดไม่ปนเปื้อนสิ่งแปลกปลอม |
เกิดปฏิกิริยากับอุณหภูมิของเบ้าปูน (เบ้าปูนมีอุณหภูมิสูงเกิน) | ลดอุณหภูมิของเบ้าปูนขณะหล่อลงโดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในชิ้นงานที่มีขนาดใหญ่ และมีทางเดินน้ำที่ดี |
อุณหภูมิของน้ำโลหะขณะที่หล่องานสูงเกินไป | ลดอุณหภูมิของน้ำโลหะลงให้เหมาะสมกับชิ้นงาน |
อุณหภูมิภายในเตาอบสูงเกินไป | ตรวจสอบคุณภาพของตัววัดอุณหภูมิภายในเตาอบว่า สามารถควบคุมอุณหภูมิได้ถูกต้อง โดยหมั่นทำการ ตรวจเช็คอย่างสม่ำเสมอ |
ปัญหาตามดแบบหดตัว | |
สาเหตุ | วิธีการแก้ไข |
ตำแหน่ง และ ขนาดของทางเดินน้ำโลหะ ไม่ถูกต้อง |
ทางเดินน้ำโลหะควรติดอยู่ที่ตำแหน่งหนาที่สุดของ ชิ้นงาน และขนาดของทางเดินน้ำโลหะควรมีขนาด ใหญ่และเพียงพอต่อการไหลตัวของน้ำโลหะ เพื่อไม่ ให้โลหะตกผลึกเย็นตัวก่อน |
อุณหภูมิของเบ้าปูนขณะหล่อเย็นเกินไป | อุณหภูมิของเบ้าหล่อปูนปรับให้สูงขึ้น ให้เหมาะสมกับ ขนาดของทางเดินน้ำโลหะ และขนาดของชิ้นงานหล่อ |
ชิ้นงานหล่อเนื้อโลหะขาด | |
สาเหตุ | วิธีการแก้ไข |
อุณหภมิน้ำโลหะ หรืออุณหภูมิเบ้าปูนเย็นเกินไป | เพิ่มอุณหภูมิของการหล่อ ไม่ว่าจะเป็นอุณหภูมิน้ำ โลหะหรืออุณหภูมิของเบ้าปูน ถ้าใช้อุณหภูมิต่ำเกิน ไปจะทำให้โลหะเกิดการตกผลึกเย็นตัวก่อน ทำให้ หล่องานไม่เต็ม |
ตำแหน่ง และ ขนาดของทางเดินน้ำโลหะไม่ ถูกต้อง |
ทางเดินน้ำโลหะควรติดอยู่ที่ตำแหน่งหนาที่สุดของ ชิ้นงาน และขนาดของทางเดินน้ำโลหะควรมีขนาด ใหญ่และเพียงพอต่อการไหลตัวของน้ำโลหะเพื่อ ไม่ให้โลหะตกผลึกเย็นตัวก่อน |